วันจันทร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2555

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2ประเภท คือ
1.ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(Propriery Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packaged Software) มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ (Customized Package)และโปรแกรมมาตราฐาน(Standard Package)

-แบ่งตามกลุ่มใช้งาน จำแนกได้3กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้1.กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ (Business)
2.กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย(Grophic and Multimedia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ(Web and Communications)

ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร นำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft Word,Sun Star Office Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Excel,Sun Star Office Cals
โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft Powerpoint,Sun Star Office Impress

ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้พัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย
เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว การสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
โปรแกรมตกแต่ง อาทิ CoreLDRAW,Adobe Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacle Studio DV
โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware,Toolbook Instructor,Adobe Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adabo Flash,Adobe Dreamweaver

กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
       เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะ เพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล การท่องเที่ยวเว็บไซต์ การจัดการดูแลเว็บ และการส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างโปรแกรมกลุ่มนี้ไดแก่
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Outlook,Mozzila Thunderbird
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer,Mozzila Firefox
โปรมแกรม ประชุมทางไกล (Video Conference) อาทิ Microsoft Netmeeting
โปรแกรมข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSM Messenger/Windows Messenger,ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH,MIRCH
       การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่ผู้ใชจะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได่ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบและเป็นตัวอักษร เป็นประโยค ข้อความ ภายในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง

ภาษาคอมพิวเตอร์มีอย่ามากมาย

        ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์  เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษน์จะต้อวบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเปนต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ต้องใช้ในการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อการสำหรับติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้    เรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์


      ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย  ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
        
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0  และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ ใช้ตัวเลข 0 และ 1เป็นหรัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขสองฐานนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขสองฐานที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
    การใชคอมพิวเตอร์ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก  จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร 
ภาษาแอสเซมบลี (Assembiy Languages)


   
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง


       ภาษาระดับสูง(High-Level Languages)      เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้เขียนโปรแกรมเข้าใจชุดคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเขียนและเรียนรู้โปรแกรมได้ง่ายขึ้น เพราะภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมี 2 ชุด ด้วยกัน คือ คอมไพเลอร์(Compailer) อินเทร์พรีเตอร์(Interpreter)


        คอมไพเลอร์       จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น


         อินเทอร์พรีเตอร์       จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งตามลำดับต่อไปนี้
ข้อแตกต่างของคอมไพเลอร์และการแปลโปรแกรม และชุดคำสั่ง
การทำงานของระบบ Natwork และ Internet

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น